ระบำจัมปาศรี
RaBam JamPaSi

ท่อน 1
- - - -- ลฺ ด ร- ร ด ลฺด ร - ด[- ร ด ลฺ- ซฺ ลฺ ด- ด - ร- ม ซ ม
- - - -- ลฺ - มซ ม ร ดลฺ ด ร ม- ม ซ ลด่ ล ซ ม- ร ม ซม ด - ร
- - - -- ลฺ ด ร- ม ซ มร ม ซ ล- - ซ มร ม ซ ลซ ม ด่ ลซ ม ซ ร
- ร - ดทฺ ด ร มซ ล ซ ม- ร - ด- ซ - -- ม ซ รม ร ด ลฺด ร ม ด
- ซ - -- ม ซ รม ร ด ลฺด ร ม ด]x2
ท่อน 2
[- ร ด ลฺ- ซฺ ลฺ ด- ด - ร- ม ซ ม- ล ซ ลซ ม - มล ซ ม ซม ร - ร
ซ ม ร มร ด - ดม ร ด รด ลฺ ซฺ ลฺ- ล ซ ลซ ม - มล ซ ม ซม ร - ร
ซ ม ร มร ด - ดม ร ด รด ลฺ ซฺ ล- - ซฺ ลฺด ร ด ลฺ- ม ซ ลฺด ร ด ลฺ
- - ซฺ ลฺด ร ด ลฺ- ม ซ ลฺด ร ด ลฺ- - ซฺ ลฺด ร ม ซ- - - -- ม ร ด
- ม ซ มล ม ซ รม ร ด ลฺด ร ม ด- ซ - -- ม ซ รม ร ด ลฺด ร ม ด]x2
ท่อน 3
[- - - -- ล - ซ- ฟ#- ม- ร - ซ- ซ ล ท- ท ล ซ- ฟ#- ม- ร - ม
- - - -- ล - ซ- ฟ#- ม- ร - ซ- ซ ล ท- ท ล ซ- ฟ#- ม- ร - ม
- - - -- ด - ร- ม - ซ- ม ซ ร- ร - รด ลฺ - ด- ด - ดร ม ร ด
- ด ลฺ ด- ด ร มซ ล ซ มซ ม ร ด- ด - รด ลฺ - ด- ด - ร- ม ซ ม
- ม ซ ร- ม - ซ- ซ ล ซ#ม ร ม- ด - ดร ม - ซ- ซ ล ด- ด ร ม]x2
ท่อน 4
[- - - -- - - -- ร่ - ล- ซ - ม- ม - ร- ม - ล- - - -- - - -
- ร่ - ล- ซ - ม- ม - ร- ม - ฟ#- - - -- ฟ#ม ร- ร ม ฟ#ม ฟ#ล ม
- ม ซ ม- ร - ด- ทฺ - ลฺ- ซฺ - ลฺ- - - -- ม - ร- ร ด ทฺ- ทฺ ด ร
- ร ด ทฺ- ทฺ ด ร- ม ร ด- ด ร ม- - - -- ม ร ด- ด ร มร ม ซ ร
- ม - ร- ด - ทฺ- ลฺ - ทฺลฺ ซฺ - ลฺ]x2
จบ
- - - -- ลฺ ด ร- ร ด ลฺด ร ม ด- - - -- ลฺ ด ร- ร ด ลฺด ร ม ด
- ด ร ลฺด ร ม ด- ลฺ - ทฺลฺ ซฺ - ลฺ

Data

> ... ในปี พ.ศ. 2522 ชาว อำเภอนาดูนได้ขุดค้นพบโบราณวัตถุรอบกู่สันตรัตน์ ได้พบพระทองสำริด พระพิมพ์แบบต่างๆ เป็นจำนวนมาก และมีการขุดพบซากเจดีย์โบราณและสถูปที่ใช้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ต่อมาทางจังหวัดมหาสารคามได้ร่วมกันสร้างพระธาตุนาดูน โดยจำลองแบบมาจากสถูปทองสำริดที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระธาตุนาดูนนับได้ว่าเป็นสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนา จนมีผู้กล่าวว่าพระธาตุนาดูนเปรียบเหมือนพุทธมณฑลของภาคอีสาน

> ระบำจัมปาศรี จึงเกิดขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ถึงความเจริญรุ่งเรืองของโบราณสถานในจังหวัด มหาสารคาม และเป็นความภาคภูมิใจร่วมกันของชาวอีสาน พระธาตุนาดูนซึ่งบรรจุพระบรมสารีริกธาตุนับเป็นของคู่บ้านคู่เมือง ทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)โดย อาจารย์ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ จึงได้จัดทำระบำจัมปาศรีขึ้น โดยอาศัยจากเอกสารทางโบราณคดีและข้อเขียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนครจัมปาศรี ท่าฟ้อนชุดระบำจัมปาศรีประยุกต์ท่าฟ้อนพื้นเมืองอีสาน ซึ่งได้แก่ ฟ้อนผู้ไท ฟ้อนตังหวาย ฟ้อนสังข์ศิลป์ชัยฯลฯ ผสมกับท่าระบำโบราณคดี ชุดระบำทวาราวดี และภาพจำหลักที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยท่าเคลื่อนไหวจะเป็นท่าฟ้อนพื้นเมือง ส่วนท่าหยุดจะเป็นท่าโบราณคดี ...

> ที่มา : ชมรมนาฎศิลป์และดนตรีพื้นเมือง (วงแคน) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม